docker cmd
install php:7.0.10-apache none map share folder
docker run --name php7.0.10 -d -p 80:80 php:7.0.10-apache
install php:7.0.10-apache map share folder
docker run --name php7.0.10 -d -p 80:80 -v /Users/tmac/www/:/var/www/html/ php:7.0.10-apache
ลองตรวจสอบว่ามี Container ตัวไหนรันอยู่บ้าง
docker ps
Stop container
docker stop php7.0.10
ดูรายการ container ทั้งหมดที่มีอยู่ในเครื่อง
docker ps -a
Remove container
docker rm php7.0.10
Start container
docker start php7.0.10
ดู ip ของ Docker Machine
docker-machine ls
SSH เข้าไปที่ Docker Machine
docker-machine ssh default
การสร้าง Container
docker run --name demo -d -p 8080:80 -v /home/me:/home/docker image
ตัวอย่าง
docker run --name myweb -p 8080:80 -v /myweb:/var/www/html -d nginx
คำสั่งอาจจะดูยาวหน่อย เพราะคำสั่ง docker run จะต้องมีการใส่ option เข้าไปด้วย
--name demo คือ การตั้งชื่อให้กับ container โดยเมื่อเราใช้คำสั่ง start stop หรือ rm สามารถสั่งงาน container ได้จากชื่อ container ได้เช่นกัน -d เป็นการสั่ง contianer ให้รันแบบ background -v /home/me:/home/docker คือการ mount volume หรือเป็นการแชร์ไฟล์ระหว่าง container กับเครื่องเราให้สามารถเรียกใช้ไฟล์ร่วมกันได้ -p 8080:80 เป็นการ map port ระหว่างเครื่อง และ container เช่น อย่าง container ของ nginx จะใช้ port 80 เป็น default หากต้องการให้เครื่องใช้ port 8080 เราก็กำหนดให้เป็น -p 8080:80 image ชื่อของ Docker image ที่เราต้องการเรียกใช้ (จากตัวอย่างจะใช้ nginx เป็น image)
ที่มา: การใช้งาน Docker เบื้องต้น